• ความตัดกันของสี default black white yellow black
  • ปรับขนาดตัวอักษร smaller default bigger
 
 
 
 
 
 

Green Office

หมวด 5
สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย

หมวด/ตัวชี้วัด หลักฐาน/เอกสารอ้างอิงการตรวจประเมิน

5.1 อากาศในสำนักงาน

5.1.1 การควบคุมมลพิษทางอากาศในสำนักงาน

(1) มีแผนการดูแลรักษา ได้แก่ เครื่องปรับอากาศ 
เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer)
พรมปูพื้นห้อง (ขึ้นอยู่กับสำนักงาน)
(2) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบตามแผน
การดูแลรักษา
(3) มีการปฏิบัติตามแผนที่กำหนดในข้อ 1
(4) มีการควบคุมมลพิษทางอากาศจากการปฏิบัติในข้อ 1
(5) การจัดวางเครื่องปริ้นเตอร์ เครื่องถ่ายเอกสารให้
ห่างไกลผู้ปฏิบัติงาน
(6) การควบคุมควันไอเสียรถยนต์บริเวณสำนักงาน เช่น
ติดป้ายดับเครื่องยนต์
(7) การป้องกันและกำจัดแมลงที่จะสร้างมลพิษทางอากาศภายในสำนักงาน (ถ้ามี)
(8) มีการสื่อสารหรือแจ้งให้ทราบถึงการเกิดมลพิษ
ทางอากาศจากกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย
(สามารถพิจารณาจากเอกสารหรือภาพถ่าย
เป็นหลักฐานประกอบ)

5.1.1 การควบคุมมลพิษทางอากาศในสำนักงาน

(1) - (2) มีแผนการดูแลรักษา ได้แก่ เครื่องปรับอากาศ 
เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer)
พรมปูพื้นห้อง (ขึ้นอยู่กับสำนักงาน) และมีการกำหนดหน้าที่
ความรับผิดชอบตามแผนการดูแลรักษา

- แผนการดูแลรักษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ดังนี้ 
     เอกสารประกอบ 
- แผนควบคุมตรวจสอบและบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศภาย
ในสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 
     เอกสารประกอบ 
- แผนการบำรุงรักษาอุปกรณ์ที่สร้างมลพิษทางอากาศ
ของสำนักกรรมาธิการ 3 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 
     เอกสารประกอบ 
- แผนการตรวจสอบดูแลและบำรุงรักษาม่าน พื้น เพดานของ
สำนักกรรมาธิการ 3 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
     เอกสารประกอบ
(3) มีการปฏิบัติตามแผนที่กำหนดในข้อ 1
รายงานการตรวจสอบการบำรุงรักษาเชิงป้องกันระบบ
เครื่องปรับอากาศ ชั้น 3  
      เอกสารประกอบ
- รายงานการดำเนินการตรวจ ดูแลและบำรุงรักษา ม่าน
พื้นห้อง เพดานของสำนักรรมาธิการ 3 
      เอกสารประกอบ
- รายงานการตรวจสอบบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องถ่ายเอกสาร
ของสำนักรรมาธิการ 3
     เอกสารประกอบ

(4) มีการควบคุมมลพิษทางอากาศจากการปฏิบัติในข้อ 1
      เอกสารประกอบ

(5) การจัดวางเครื่องปริ้น เครื่องถ่ายเอกสารให้
ห่างไกลผู้ปฏิบัติงาน

      
เอกสารประกอบ
(6) การควบคุมไอเสียรถยนต์บริหารสำนักงาน 
เช่น ติดป้ายดับเครื่องยนต์ 

      เอกสารประกอบ
(7) การป้องกันและกำจัดแมลงที่จะสร้างมลพิษทางอากาศ
ภายในสำนักงาน (ถ้ามี)    
   
เอกสารประกอบ

(8) มีการสื่อสารหรือแจ้งให้ทราบถึงการเกิดมลพิษ
ทางอากาศจากกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อการเตรียมความพร้อม
และระวังการได้รับอันตราย 
(สามารถพิจารณาจากเอกสาร
หรือภาพถ่าย
เป็นหลักฐานประกอบ)

    เอกสารประกอบ



 

5.1.2 มีการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่หรือมีการกำหนด พื้นที่สูบบุหรี่ที่เหมาะสมและปฏิบัติตามที่กำหนด

(1) มีการรณรงค์การไม่สูบบุหรี่
(2) มีการติดสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่
(3) มีการติดสัญลักษณ์เขตสูบบุหรี่
(4) เขตสูบบุหรี่จะต้องไม่อยู่ในบริเวณที่ก่อให้เกิด ความเดือดร้อนรำคาญแก่ประชาชนที่อยู่บริเวณ ข้างเคียง ไม่อยู่ในบริเวณทางเข้า ออกของ สถานที่ที่ให้มีการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ และไม่อยู่ในบริเวณที่เปิดเผยอันเป็นที่เห็นได้ชัดแก่ผู้มาใช้สถานที่นั้น
(5) ไม่พบการสูบบุหรี่ หรือก้นบุหรี่นอกเขตสูบบุหรี่

5.1.2 มีการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่หรือมีการกำหนด พื้นที่สูบบุหรี่ที่เหมาะสมและปฏิบัติตามที่กำหนด

(1) มีการรณรงค์การไม่สูบบุหรี่
      เอกสารประกอบ
(2) มีการติดลักษณ์เขตปลอดบุหรี่
      เอกสารประกอบ
(3) มีการติดสัญลักษณ์เขตสูบบุหรี่
      เอกสารประกอบ
(4) เขตสูบบุหรี่จะต้องไม่อยู่ในบริเวณที่ก่อให้เกิด
ความเดือนร้อนรำคาญแก่ประชาชนที่อยู่บริเวณข้างเคียง
ไม่อยู๋ในบริเวณทางเข้า - ออก ของสถานที่
ที่ให้มีการคุ้มครองสุขภาพของผู้สูบบุหรี่
และไม่อยู่ในบริเวณที่เปิดเผยอันเป็นที่เห็นได้ชัด
แก่ผู้มาใช้สถานที่นั้น

      เอกสารประกอบ 
(5) ไม่พบการสูบบุหรี่ หรือก้นบุหรี่นอกเขตสูบบุหรี่

      เอกสารประกอบ 

 

5.1.3 การจัดการมลพิษอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารหรืออื่นๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน

(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการมลพิษ อากาศจากการก่อสร้างปรับปรุงอาคาร
(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1) แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้ มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงานมีที่กั้นเพื่อกันมลพิษทางอากาศกระทบกับพนักงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องมีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย

5.1.3 การจัดการมลพิษอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารหรืออื่นๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน
 

 

5.2 แสงในสำนักงาน

5.2.1 มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง (โดยอุปกรณ์การตรวจวัดความเข้มแสงที่ได้มาตรฐาน) และดำเนินการแก้ไขตามที่มาตรฐานกำหนด

(1) มีการตรวจวัดความเข้มแสงประจำปีพร้อม แสดงหลักฐานผลการตรวจวัดแสงเฉพาะจุด ทำงานแลพื้นที่ทำงาน
(2) เครื่องวัดแสงจะต้องมีมาตรฐานและได้รับการสอบเทียบ (แสดงหลักฐานใบรับรอง)
(3) ผลการตรวจวัดจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานกฎหมายกำหนด
(4) ผู้ที่ตรวจวัดความเข้มแสงจะต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด

5.2.1 มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง (โดยอุปกรณ์การตรวจวัดความเข้มแสงที่ได้มาตรฐาน) และดำเนินการแก้ไขตามที่มาตรฐานกำหนด

1) รายงานผลการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง
2) การปรับปรุงเรื่องแสงสว่างภายในสำนัก
3) จัดทำแผนการบำรุงรักษา มาตรการ ข้อกำหนดต่าง ๆ ด้านสภาพแวดล้อมและความปลอดภัย ประจำปี 2567

5.3 เสียง

5.3.1 การควบคุมมลพิษทางเสียงภายในอาคาร สำนักงาน

(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน
(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1) ถ้าพบว่ามีเสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน

5.3.1 การควบคุมมลพิษทางเสียงภายในอาคาร สำนักงาน

1) รายงานการตรวจวัดเสียง
2) แผนการบำรุงรักษา มาตรการ ข้อกำหนดต่าง ๆ ด้านสภาพแวดล้อมและความปลอดภัย ประจำปี 2567
3) ประกาศสำนักกรรมาธิการ ๓ เรื่อง มาตรการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง ผู้รับเหมาด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
4) ตารางการซ่อมบำรุงเครื่องถ่ายเอกสารตามสัญญาว่าจ้างของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
5) การควบคุมควันไอเสียรถยนต์บริเวณสำนักงาน ดับเครื่องยนต์ทุกครั้งเมื่อต้องจอดรถเป็นเวลานาน
6) มาตราการการควบคุมมลพิษทางเสียง
 

5.3.2 การจัดการเสียงดังจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารหรืออื่น ๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน

(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่ เกิดจากการก่อสร้างปรับปรุงอาคาร
(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1) ถ้าพบว่ามีเสียงดังที่มาจากภายนอกสำนักงาน แนวทางการกำหนดมาตรการ มีดังนี้
– มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงาน
– มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย

5.3.2 การจัดการเสียงดังจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารหรืออื่น ๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน

1) จัดทำแผนการบำรุงรักษา มาตรการ ข้อกำหนดต่าง ๆ ด้านสภาพแวดล้อมและความปลอดภัย ประจำปี 2567
2) ประกาศสำนักกรรมาธิการ 3 เรื่อง มาตรการควบคุมการปฏิบัติงานของ  ผู้รับจ้าง ผู้รับเหมาด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
 
 

5.4 ความน่าอยู่

5.4.1 มีการวางแผนจัดการความน่าอยู่ของ สำนักงานโดยจะต้องดำเนินการดังนี้

(1) จัดทำแผนผังของสำนักงานทั้งในตัวอาคารและ นอกอาคาร โดยจะต้องกำหนดพื้นที่ใช้งานอย่างชัดเจน เช่น พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่สีเขียว พื้นที่ส่วนรวมและพื้นที่ทำงาน เป็นต้น สามารถสื่อสารด้วยป้ายหรืออื่น ๆ ที่เหมาะสมเพื่อบ่งชี้
(2) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบอย่าง เหมาะสมทั้งพื้นที่เฉพาะและพื้นที่ทั่วไป ทั้งใน อาคารและนอกอาคาร
(3) มีการกำหนดเวลาในการดูแลรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งพื้นที่เฉพาะและพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร
(4) การกำหนดแผนงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และคงรักษาไว้ของสำนักงานรวมไปถึงมีการปฏิบัติ จริงตามแผนงาน

5.4.1 มีการวางแผนจัดการความน่าอยู่ของ สำนักงานโดยจะต้องดำเนินการดังนี้

1) จัดทำแผนการบำรุงรักษา มาตรการ ข้อกำหนดต่าง ๆ ด้านสภาพแวดล้อมและความปลอดภัย ประจำปี 2567
2) จัดทำแผนผังสำนักกรรมาธิการ 3 และแผนผังเพิ่มพื้นที่สีเขียว
3) จัดทำโครงการสร้างภูมิทัศน์เพิ่มพื้นที่
สีเขียว และสรุปผลการดำเนินงานเพิ่มพื้นที่
สีเขียว และสภาพแวดล้อม
4) ติดตามแผนการดำเนินงาน
5) จัดกิจกรรม “Big Cleaning Day”
     5.1 จัดกิจกรรม “Big Cleaning Day”   วันที่ 27 ธ.ค. 66
     5.2  จัดกิจกรรม “Big Cleaning Day” วันที่ 26 ม.ค. 67
     5.3  จัดกิจกรรม “Big Cleaning Day”  วันที่ 23 ก.พ. 67
     5.4  จัดกิจกรรม “Big Cleaning Day” วันที่ 29 มี.ค. 67
      5.5 จัดกิจกรรม “Big Cleaning Day” วันที่ 19 เม.ย. 67
       5.6 จัดกิจกรรม “Big Cleaning Day” วันที่  5 พ.ค. 67
6) ดำเนินการกิจกรรม “5ส ภายในสำนัก”
     6.1 ดำเนินการกิจกรรม “5ส ภายในสำนัก”  วันที่ 27 ธ.ค. 66
     6.2 ดำเนินการกิจกรรม “5ส ภายในสำนัก”  วันที่ 26 ม.ค. 67
     6.3 ดำเนินการกิจกรรม “5ส ภายในสำนัก”  วันที่ 23 ก.พ. 67
     6.4 ดำเนินการกิจกรรม “5ส ภายในสำนัก”  วันที่ 29 มี.ค. 67
     6.5 ดำเนินการกิจกรรม “5ส ภายในสำนัก”  วันที่ 19 เม.ย. 67
     6.6 ดำเนินการกิจกรรม “5ส ภายในสำนัก”  วันที่ 5 พ.ค. 67

5.4.2 ร้อยละการใช้สอยพื้นที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่สำนักงานกำหนด

5.4.2 ร้อยละการใช้สอยพื้นที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่สำนักงานกำหนด

- การใช้สอยพื้นที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่สำนักงานกำหนด
 

5.4.3 ร้อยละการดูแลบำรุงรักษาพื้นที่ต่าง ๆ เช่น พื้นที่สีเขียว พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ทำงาน เป็นต้น

5.4.3 ร้อยละการดูแลบำรุงรักษาพื้นที่ต่าง ๆ เช่น พื้นที่สีเขียว พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ทำงาน เป็นต้น

- ดูแลบำรุงรักษาพื้นที่ต่าง ๆ เช่น พื้นที่
สีเขียว พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ทำงาน
 

5.4.4 มีการควบคุมสัตว์พาหะนำโรคและดำเนินการได้ตามที่กำหนด

(1) มีการกำหนดแนวทางการป้องกันสัตว์พาหะนำโรคในสำนักงานอย่างเหมาะสม ได้แก่ นกพิราบ หนู แมลงสาบ และอื่นๆ
(2) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรคอย่างน้อยที่สุดเดือนละ 1 ครั้ง
(3) มีการตรวจสอบร่องรอยตามความถี่ที่ได้กำหนด (เฉพาะตอนกลางวัน)
(4) มีแนวทางที่เหมาะสมกับการจัดการเมื่อพบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค
(5) ไม่พบร่องรอยหรือสัตว์นำโรคในระหว่างการตรวจประเมินของกรมฯ
หมายเหตุ : การควบคุมสัตว์พาหะนำโรค สำนักงานสามารถควบคุมและจัดการได้เอง หรือว่าจ้างหน่วยงานเฉพาะมาดำเนินการแทน

5.4.4 มีการควบคุมสัตว์พาหะนำโรคและดำเนินการได้ตามที่กำหนด

1) จัดทำแผนการควบคุมสัตว์พาหะนำโรค ประจำปี 2567 สำนักงานกรรมาธิการ 3
2) กำหนดมาตรการการป้องกันสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค
3) จัดทำแนวทางการป้องกันและการควบคุมสัตว์พาหะนำโรค (หนู แมลงสาบ นก ยุง และแมลงวัน)
4) รวบรวมหลักฐานการตรวจร่องรอยของสัตว์พาหะนำโรค (หนู แมลงสาบ นก ยุง และแมลงวัน)
 

5.5 การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉิน

5.5.1 การอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟ ตามแผนที่กำหนด

(1) มีการกำหนดแผนการฝึกอบรมและอพยพหนีไฟ
(2) จำนวนคนเข้าอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงขั้นต้น จะต้องไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 40 ของพนักงานทั้งหมด
(3) พนักงานทุกคนจะต้องเข้าฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(4) มีการอบรมดับเพลิงขั้นต้นตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรองการอบรม ภาพถ่าย เป็นต้น
(5) มีการฝึกซ้อมอพยพตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรอง ภาพถ่าย เป็นต้น
(6) มีการจุดรวมพลที่สามารถรองรับได้ พร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน
(7) มีการกำหนดเส้นทางหนีไฟ ธงนำทางหนีไฟไปยังจุดรวมพลพร้อมสื่อสารในพื้นที่ปฏิบัติงาน
(8) มีการกำหนดทางออกฉุกเฉิน ทางหนีไฟพร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน

5.5.1 การอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟ ตามแผนที่กำหนด
 
1) จัดทำหลักสูตรและแผนการอบรม ประจำปี 2567
2) จัดทำแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย (FIRE FIGHTING AND PROTECTION PLAN)
3) จัดโครงการฝึกอบรมการอพยพหนีไฟ ประจำปี พ.ศ. 2567
4) รวบรวมข้อมูลบุคลากรเข้าร่วมโครงการฝึกอบรมการอพยพหนีไฟ ประจำปี พ.ศ. 2567
5) ภาพการอบรมและซ้อมอพยพหนีไฟ
6) กำหนดจุดรวมพล
7) กำหนดเส้นทางหนีไฟ ธงนำทางหนีไฟ
8) จัดทำ VDO โครงการฝึกอบรมการอพยพหนีไฟ ประจำปี 2567

9) รายงานผลการซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยบหนีไฟ (จับเวลาจากจุดอพยพ - จุดปลอดภัย)

5.5.2 มีแผนฉุกเฉินที่เป็นปัจจุบันและเหมาะสม และร้อยละของพนักงานที่เข้าใจแผนฉุกเฉิน (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน)

5.5.2 มีแผนฉุกเฉินที่เป็นปัจจุบันและเหมาะสม และร้อยละของพนักงานที่เข้าใจแผนฉุกเฉิน (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน)

 

5.5.3 ความเพียงพอและการพร้อมใช้งานของอุปกรณ์ระบบดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย และระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้และร้อยละของ พนักงานทราบวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ ดังกล่าว (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน)

(1) มีการติดตั้งและเตรียมอุปกรณ์ดับเพลิง
– ถังดับเพลิงมีเพียงพอต่อการใช้งาน (กำหนดระยะห่างอย่างน้อย 20 เมตร/ถัง ตามกฎหมาย ติดตั้งสูงจาก พื้นไม่เกิน 150 เซนติเมตร นับจากคันบีบและถ้าเป็นวางกับพื้นที่จะต้องมีฐานรองรับ) พร้อมกับติดป้ายแสดง
– ติดตั้งระบบเครื่องสูบน้ำดับเพลิง (ถ้ามี)
– สายฉีดน้ำดับเพลิงและตู้เก็บสายฉีด (Hose and Hose Station) ถ้ามี
(2) ติดตั้งระบบสัญญาณแจ้งเตือนและต้องพร้อมใช้งาน
– สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (พื้นที่ มากกว่า 300 ตารางเมตรหรืออาคารสูงเกิน 2 ชั้นขึ้นไป)
– ติดตั้งตัวดักจับควัน (smoke detector) หรือความร้อน (heat detector)
(3) มีการตรวจสอบข้อ (1) - (2) และหากพบว่าชำรุดจะต้องดำเนินการแจ้งซ่อมและแก้ไข
(4) พนักงานจะต้องเข้าใจถึงวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิงและสัญญาณแจ้ง เตือนอย่างน้อยร้อยละ 75 จากที่สุ่มสอบถาม
(5) ไม่มีสิ่งกีดขวางอุปกรณ์ดับเพลิง และสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้

5.5.3 ความเพียงพอและการพร้อมใช้งานของอุปกรณ์ระบบดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย และระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้และร้อยละของ พนักงานทราบวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ ดังกล่าว (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน)
1) ตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิง และถังดับเพลิง
2) จัดทำรายงานตรวจสอบถังดับเพลิง ประจำปี 2567
3) จัดทำรายงานจำนวนระบบสัญญาณแจ้งเตือนเหตุฉุกเฉิน จุดติดตั้ง และจำนวนถังดับเพลิงของสำนักงาน
4) จัดทำ VDO สาธิตวิธีการใช้ถังดับเพลิง “ดึง กด ปลด ส่าย” เผยแพร่ให้บุคลากรทราบ