• ความตัดกันของสี default black white yellow black
  • ปรับขนาดตัวอักษร smaller default bigger
 
 
 
 
 
 

Green Office

หมวดที่ 4
การจัดการของเสีย

 

หมวด/ตัวชี้วัด หลักฐาน/เอกสารอ้างอิงการตรวจประเมิน

4.1 การจัดการของเสีย

 4.1.1 มีการดำเนินงานตามแนวทางการคัดแยก รวบรวมและการจัดการขยะอย่างเหมาะสมมีแนวทางการดำเนินงาน ดังนี้

(1) มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในสำนักงาน และจัดวางถังขยะตามพื้นที่ทำงานต่าง ๆ อย่างเหมาะสมทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ
(2) มีการติดป้ายบ่งชี้ประเภทขยะอย่างถูกต้องและชัดเจนทุกถังที่สุ่มตรวจสอบ
(3) มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ โดยจะต้องมีพื้นที่รองรับขยะแต่ละประเภทจากข้อ (1) อย่างเพียงพอ
(4) มีการทิ้งขยะถูกต้องทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ
(5) มีการส่งขยะให้ อปท. หรือผู้รับจ้างที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย
(6) มีการติดตาม ตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้รับจ้างให้มีการจัดการอย่างเหมาะสมตามหลักวิชาการ (กรณีส่งให้ อปท.ให้ถือว่ามีการจัดการอย่างเหมาะสม)
(7) ไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ของสำนักงาน (ยกเว้นเตาเผาที่ได้รับการอนุญาตอย่างถูกต้อง)

4.1.1 มีการดำเนินงานตามแนวทางการคัดแยก รวบรวมและการจัดการขยะอย่างเหมาะสมมีแนวทางการดำเนินงาน ดังนี้

(1) สำนักวิชาการมีการดำเนินงานตามแนวทางการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในสำนักวิชาการและมีการจัดวางถังขยะตามพื้นที่ต่างๆ อย่างเหมาะสม
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

(2) สำนักวิชาการดำเนินการติดป้ายบ่งชี้ประเภทขยะอย่างถูกต้องและชัดเจนทุกถัง
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง


(3) สำนักวิชาการมีจุดพักขยะที่เหมาะสมเพียงพอตามหลักวิชาการ โดยสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาได้กำหนดพื้นที่รองรับขยะแต่ละประเภท ณ บริเวณ ชั้น B1
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง


(4) สำนักวิชาการกำหนดจุดทิ้งขยะ และกำหนดผู้รับผิดชอบในการตรวจการทิ้งขยะ รวมทั้งมีการสุ่มตรวจสอบการทิ้งขยะอย่างถูกต้องทุกจุด
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง


(5) สำนักวิชาการ ได้ดำเนินการส่งขยะให้สำนักงานเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เข้าดำเนินการจัดเก็บและนำขยะมูลฝอยไปจัดการให้ถูกสุขลักษณะตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง
- เรื่อง ขอความอนุเคราะห์ให้ดำเนินการจัดเก็บและจัดการขยะให้ถูกสุขลักษณะตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
- เรื่อง การเข้าร่วมโครงการ "ไม่เทรวม"
- เรื่อง การกำหนดให้การจัดการขยะเป็นวาระเร่งด่วน


(6) สำนักวิชาการมีการติดตาม ตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้รับจ้างให้มีการจัดการอย่างเหมาะสมตามหลักวิชาการ
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง


(7) สำนักวิชาการพบว่าไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ของสำนักวิชาการ
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง 

4.1.2  การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์/นำกลับมาใช้ใหม่ ส่งผลให้ขยะที่จะส่งไปกำจัดมีปริมาณน้อยลง

(1) มีการนำขยะกลับมาใช้ใหม
(2) มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทครบถ้วนทุกเดือน
(3) มีการวิเคราะห์ปริมาณขยะเทียบค่าเป้าหมายที่ได้กำหนดจากหมวด 1
(4) ปริมาณขยะที่ส่งกำจัดมีแนวโน้มลดลง

4.1.2  การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์/นำกลับมาใช้ใหม่ ส่งผลให้ขยะที่จะส่งไปกำจัดมีปริมาณน้อยลง

(1) สำนักวิชาการมีแนวทางและกิจกรรมการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์หรือนำกลับมาใช้ใหม่ ดังนี้
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง


(2) สำนักวิชาการได้มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทครบถ้วนทุกเดือน
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง


(3) สำนักวิชาการได้มีการวิเคราะห์ปริมาณขยะเทียบค่าเป้าหมายที่ได้กำหนดจากหมวด 1
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง


(4) สำนักวิชาการได้มีปริมาณขยะที่ได้ส่งกำจัดมีแนวโน้มลดลง
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

*เปรียบเทียบปริมาณขยะกับปีที่ผ่านมา
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

 

  เอกสารการรรณรงค์ให้ความรู้ สร้างความตระหนัก และแนวทางการจัดการขยะภายในสำนักวิชาการ
- เส้นทางกำจัดขยะของสำนักวิชาการ
- การให้ความรู้ Zero Waste คืออะไร
- การให้ความรู้หลักการจัดการของเสียด้วยแนวคิด 3Rs
- การให้ความรู้ระยะเวลาของการย่อยสลายของขยะแต่ละประเภท
- การให้ความรู้ถังขยะแต่ละประเภท
- การให้ความรู้ขยะกำพร้า
- ประชาสัมพันธ์ สำนักวิชาการปราศจากโฟม
- เชิญชวนแยกขยะก่อนทิ้งเพื่อสิ่งแวดล้อม
- เชิญชวนคัดแยกขยะกำพร้า
- เชิญชวนใช้ปิ่นโตกล่องข้าวแก้วสแตนเลสและถุงผ้า
 

4.2 การจัดการน้ำเสีย

4.2.1 การจัดการน้ำเสียของสำนักงาน และคุณภาพน้ำทิ้ง จะต้องอยู่ในมาตรฐานกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยมีแนวทางดังนี้

(1) มีการกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสียและจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการดูแล
(2) มีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เช่น
 มีตะแกรงดักเศษอาหาร หรือบ่อดักไขมัน หรือมีระบบบำบัดน้ำเสียเหมาะสมกับองค์ประกอบ
(3) มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสีย
(4) มีผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้งที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามทีกฎหมายกำหนด

4.2.1 การจัดการน้ำเสียของสำนักงาน และคุณภาพน้ำทิ้ง จะต้องอยู่ในมาตรฐานกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

(1) สำนักวิชาการได้มีการกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสียและจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการดูแล ลงในแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนสำนักวิชาการเป็นสำนักงานสีเขียว (Green Office) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 หมวด 4 การจัดการของเสีย 
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง


(2) สำนักวิชาการมีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยมีแหล่งน้ำเสียที่เกิดจากการใช้ในกิจกรรมประจำวัน
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

(3) สำนักวิชาการได้มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสียที่เกิดจากการใช้ในกิจกรรมประจำวัน ดังนี้
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง


(4) สำนักวิชาการมีผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้งที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด ซึ่งมีการจัดการน้ำเสียที่เกิดจากการใช้ในกิจกรรมประจำวันโดยระบบบำบัดน้ำเสียของอาคารรัฐสภา (เกียกกาย) ทั้งนี้ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภากำหนดให้กรมควบคุมมลพิษจัดส่งข้อมูลผลการบำบัดน้ำเสียและผลการตรวจน้ำทิ้งจากระบบบำบัดน้ำเสียของอาคารรัฐสภา (เกียกกาย)
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

4.2.2 การดูแลอุปกรณ์บำบัดน้ำเสีย โดยมีแนวทางดังนี้

(1) มีการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย หรือมีการตักและทำความสะอาดเศษอาหารและไขมันออกจากตะแกรงดักขยะ หรือบ่อดักไขมันตามความถี่ที่กำหนดอย่างเหมาะสมกับปริมาณและการปนเปื้อน
(2) มีการนำกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสียหรือเศษอาหาร น้ำมันและไขมันจากถัง/บ่อดักไขมันไปกำจัดอย่างถูกต้อง

(3) มีการตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซมระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถใช้งานและมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ
(4) มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่น ๆ








 

4.2.2 การดูแลอุปกรณ์บำบัดน้ำเสีย โดยมีแนวทาง ดังนี้

​(1) สำนักวิชาการ ได้มีการดูแลระบบและอุปกรณ์บำบัดน้ำเสีย ตามความถี่ที่กำหนดอย่างเหมาะสมและมีการบันทึกการตรวจตามแบบฟอร์มที่กำหนด
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง


(2) สำนักวิชาการมีการตรวจสอบและนำกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสียหรือเศษอาหาร น้ำมันและไขมันจากถัง/บ่อดักไขมันไปกำจัดอย่างถูกต้อง
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง


(3) สำนักวิชาการมีการตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซมระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถใช้งานและมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง


(4) สำนักวิชาการมีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่น ๆ
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

 

  เอกสารการรณรงค์ให้ความรู้ สร้างความตระหนัก และแนวทางการจัดการน้ำเสียภายในสำนักวิชาการ
- เส้นทางการจัดการน้ำเสียของสำนักวิชาการ
- ความรู้เรื่องถังดักไขมัน
- ผลกระทบของน้ำมันและไขมันต่อสิ่งแวดล้อม
- วิธีการลดปริมาณของน้ำมันและไขมัน
- ประโยชน์ของการติดตั้งถังดักไขมัน
- ประชาสัมพันธ์การจัดการเศษอาหารลงถังขยะอินทรีย์/เศษอาหารก่อนล้างทำความสะอาด
เอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการ 1. แผนปฏิบัติการดำเนินการขับเคลื่อนสู่สำนักงานสีเขียว (Green Office) สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 หมวดที่ 1-6
2. มาตรการการจัดการของเสียภายในสำนักวิชาการ
3. คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน