• ความตัดกันของสี default black white yellow black
  • ปรับขนาดตัวอักษร smaller default bigger
 
 
 
 
 
 

Green Office

หมวดที่ 4
การจัดการของเสีย

หมวด/ตัวชี้วัด หลักฐาน/เอกสารอ้างอิงการตรวจประเมิน

4.1 การจัดการของเสีย

4.1.1 มีการดำเนินงานตามแนวทางการคัดแยก รวบรวมและการจัดการขยะอย่างเหมาะสมมีแนวทางการดำเนินงาน ดังนี้

(1) มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในสำนักงานและจัดวางถังขยะตามพื้นที่ทำงานต่างๆ อย่างเหมาะสมทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ (2) มีการติดป้ายบ่งชี้ประเภทขยะอย่างถูกต้องและชัดเจนทุกถังที่สุ่มตรวจสอบ
(3) มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ โดยจะต้องมีพื้นที่รองรับขยะแต่ละประเภทจากข้อ (1) อย่างเพียงพอ
(4) มีการทิ้งขยะถูกต้องทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ
(5) มีการส่งขยะให้ อปท. หรือผู้รับจ้างที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย
(6) มีการติดตาม ตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้รับจ้างให้มีการจัดการอย่างเหมาะสมตามหลักวิชาการ (กรณีส่งให้ อปท.ให้ถือว่ามีการจัดการอย่างเหมาะสม)
(7) ไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ของสำนักงาน (ยกเว้นเตาเผาที่ได้รับการอนุญาตอย่างถูกต้อง)

4.1.1 มีการดำเนินงานตามแนวทางการคัดแยก รวบรวมและการจัดการขยะอย่างเหมาะสมมีแนวทางการดำเนินงาน ดังนี้
(1) สำนักบริหารงานกลางมีการดำเนินงานตามแนวทางการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในสำนักประชาสัมพันธ์และมีการจัดวางขยะตามพื้นที่ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
 หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

(2) สำนักบริหารงานกลางดำเนินการติดป้ายบ่งชี้ประเภทขยะถูกต้องและชัดเจนทุกถัง
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

(3) สำนักบริหารงานกลางมีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการและเพียงพอ โดยสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาได้กำหนดพื้นที่รองรับขยะของแต่ละประเภท ณ บริเวณ ชั้น B1
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

(4) สำนักบริหารงานกลางกำหนดจุดทิ้งขยะโดยกำหนดผู้รับผิดชอบในการตรวจการทิ้งขยะและมีการสุ่มตรวจสอบการทิ้งขยะถูกต้องทุกจุด
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง
          - เดือนมกราคม 2567 
          - เดือนกุมภาพันธ์ 2567
          - เดือนมีนาคม 2567

(5) สำนักบริหารงานกลางได้ดำเนินการจัดเก็บและจัดการขยะให้ถูกสุขลักษณะตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การเก็บ ขน และกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย พ.ศ. 2544 โดยสำนักงานเขตดุสิตเข้าดำเนิน การจัดการเก็บและจัดการขยะมูลฝอยไปจัดการให้ถูกสุขลักษณะตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง
การประสานขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดการขยะ
      - หนังสือขอความร่วมมือจากเขตดุสิต

(6) สำนักบริหารงานกลางมีการติดตาม ตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้รับจ้างอย่างเหมาะสมตามหลักวิชาการโดยขยะแต่ละประเภทสำนักประชาสัมพันธ์ได้ส่งให้สำนักงานเขตดุสิตดำเนินการจัดการให้ถูกสุขลักษณะตามกฎหมาย
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

(7) สำนักบริหารงานกลางดำเนินการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในสำนักอย่างถูกต้องเหมาะสม โดยไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ของสำนัก เนื่องจากมีแนวทางมาตรการจัดการขยะที่เหมาะสม
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

4.1.2  การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์/นำกลับมาใช้ใหม่ ส่งผลให้ขยะที่จะส่งไปกำจัดมีปริมาณน้อยลง 

     (1) มีการนำขยะกลับมาใช้ใหม่
     (2) มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทครบถ้วนทุกเดือน
     (3) มีการวิเคราะห์ปริมาณขยะเทียบค่าเป้าหมายที่ได้กำหนดจากหมวด 1 
     (4) ปริมาณขยะที่ส่งกำจัดมีแนวโน้มลดลง

4.1.2  การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์/นำกลับมาใช้ใหม่ ส่งผลให้ขยะที่จะส่งไปกำจัดมีปริมาณน้อยลง
(1) สำนักบริหารงานกลางมีแนวทางและกิจกรรมการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์หรือนำกลับมาใช้ใหม่ 
หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

          - เดือนมกราคม 2567
          - เดือนกุมภาพันธ์ 2567
          - เดือนมีนาคม 2567

(2) สำนักบริหารงานกลางได้มอบหมายผู้รับผิดชอบดำเนินการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทครบถ้วนทุกเดือน ดังนี้
หลักฐานเอกสารอ้างอิง
          - เดือนมกราคม 2567

          - เดือนกุมภาพันธ์ 2567
          - เดือนมีนาคม 2567

(3)
มีสรุปข้อมูลปริมาณขยะ แต่ละประเภทเทียบกับค่าเป้าหมายรายเดือน  เปรียบเทียบค่าเป้าหมายทุกเดือนปริมาณขยะที่นำกลับมาใช้ใหม่ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 45 จากปริมาณขยะทุกประเภท ดังนี้ 
หลักฐานเอกสารอ้างอิง
          - เดือนมกราคม 2567

          - เดือนกุมภาพันธ์ 2567
          - เดือนมีนาคม 2567


(4) ปริมาณขยะที่ส่งกำจัดมีแนวโน้มขยะลดลงและมีการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นตามค่าเป้าหมายที่กำหนดโดยขยะที่นำกลับมาใช้ใหม่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 45 ดังนี้
 หลักฐานเอกสารอ้างอิง

4.2 การจัดการน้ำเสีย

4.2.1 การจัดการน้ำเสียของสำนักงาน และคุณภาพน้ำทิ้ง จะต้องอยู่ในมาตรฐานกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

(1) มีการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย หรือมีการตักและทำความสะอาดเศษอาหารและไขมันออกจากตะแกรงดักขยะ หรือบ่อดักไขมันตามความถี่ที่กำหนดอย่างเหมาะสมกับปริมาณและการปนเปื้อน
(2) มีการนำกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสียหรือเศษอาหาร น้ำมันและไขมันจากถัง/บ่อดักไขมันไปกำจัดอย่างถูกต้อง
(3) มีการตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซมระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถใช้งานและมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ
(4) มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่น ๆ

4.2.1 การจัดการน้ำเสียของสำนักงาน และคุณภาพน้ำทิ้ง จะต้องอยู่ในมาตรฐานกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

 

4.2.2 การดูแลอุปกรณ์บำบัดน้ำเสีย โดยมีแนวทาง ดังนี้

(1) การกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสีย และจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการดูแล
(2) มีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เช่น มีตะแกรงดักเศษ อาหาร มีบ่อดักไขมัน หรือมีระบบบำบัดน้ำเสียเหมาะสมกับองค์ประกอบของน้ำเสีย
(3) มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสีย
(4) มีผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้งที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด

4.2.2 การดูแลอุปกรณ์บำบัดน้ำเสีย โดยมีแนวทาง ดังนี้

4.2.2 (4) สำนักบริหารงานกลางมีการจัดการน้ำเสียในกิจกรรมประจำวันโดยระบบบำบัดน้ำเสียของอาคารรัฐสภา (เกียกกาย) โดยสำนักงานเลขาธิการวุุฒิสภากำหนดให้บริษัทที่ปรึกษาบริหารโครงการ CAMA จัดส่งข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียและการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ประกอบด้วย ผลการบำบัดน้ำเสียจากระบบบำบัดน้ำเสียของอาคารรัฐสภา (เกียกกาย) 
- หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง